วันพุธที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2557

การเรียนรู้แบบผสมผสาน





นิยามของการเรียนแบบผสมผสาน (Blended Learning)
ในส่วนของ Blended Learning ถ้าเป็นภาษาไทยก็จะหมายถึง การเรียนแบบผสมผสาน จริงๆ แล้วBlended Learning การให้ความหมายในสมัยก่อนจะเป็นเรื่องการผสมผสานของเทคนิควิธีการสอนหลายๆ
วิธีเข้าด้วยกัน บางคนก็จ ะเรีย กว่า Mix Learning แต่จริงๆ ในปัจจุบันเวลาเราพูดถึงคาว่า BlendedLearning หรือการเรียนรู้แบบผสมผสานจะให้นิยามความหมายแค่อันเดียวก็คือเป็นการเรียนรู้แบบผสมผสานระหว่างการเรียนรู้แบบพบหน้าผู้สอนที่เรียกว่า Face to Face กับการเรียนรู้ในลักษณะที่เป็นออนไลน์ ทีว่าผสมสานในที่นี้จึงเป็นการผสมผสานในระหว่างการเรียนที่เจอผู้สอนก็คือมีการพบหน้ากันปกติกับการเรียนผ่านออนไลน์ ในภาษาอังกฤษจะใช้คาว่า Face to Face กับ Online อันนี้เป็นความหมายของ BlendedLearning ที่นี้พอเกิดความหมายของ Blended Learning ในลัษณะที่เป็นการเรียนแบบ Online กับการ  เรียนที่เป็น Face to Face มันก็เลยเกิดคาถามว่า แล้วเราจะจัดการเรียนการสอนอย่างไรสาหรับการใช้Blended Learning ปัญหาของ Blended Learning ก็คือ ความไม่เข้าใจในเรื่องของกระบวนการว่าถ้าเราจะ  จัดการเรียนการสอนแบบ Blended Learning ควรทาอย่างไร โดยเฉพาะคนส่วนใหญ่จะแยกไม่ออกระหว่างการเรียนแบบปกติที่เป็น Face to Face กับเรียน Online จะผสมกันได้อย่างไร หากเราใช้ e-Learning ก็จะมีปัญหาที่ว่า บางคนก็จะมอง e-Learning ว่าเป็นเพียวออนไลน์ คือเรียนโดยผ่านการออนไลน์บนอินเทอร์เน็ตอย่างเดียว ปัญหาของ e-Learning ก็คือว่าผู้เรียนจานวนมากไม่สามารถดูแลตัวเอง หรือรับผิดชอบตัวเองในการเรียนการสอนผ่านระบบออนไลน์ อันนี้เป็นจุดอ่อนสาคัญของระบบ e-Learning เพราะว่าถ้าเราปล่อยให้คนไปเรียนใน e-Learning โดยที่เขาไม่สามารถจะควบคุมตนเองได้ ขาดความรับผิดชอบ ขาดวินัยในการเรียนรู้ก็จะเป็นปัญหาว่าเขาไม่ประสบความสาเร็จในการที่จะเรียนผ่านระบบออนไลน์ ดังนั้นเทคนิคการสอนในลักษณะนี้ที่เราเรียกว่า Blended Learning จึงการสอนโดยผสมเอาวิธีการที่เรียนตามปกติที่เราใช้ในชั้นเรียนเอาเข้ามาเรียนร่วมกับการเรียนแบบออนไลน์ เพื่อเป็นการปิดจุดอ่อนของระบบออนไลน์ ในขณะที่บางคนก็มองว่า Blended Learning เป็นการผสมผสานระหว่างการสอนหลากหลายวิธีการจะมีอยู่สองกลุ่ม กลุ่มแรกที่มองลักษณะเป็นการเรียนระหว่าง Face to Face กับการเรียนแบบ Online เป็นกลุ่มหลัก ที่เวลาพูดถึงBlended Learning แต่อีกกลุ่มหนึ่งเวลานิยาม Blended Learning จะตีความหมายว่าเป็นการใช้วิธีการหลายๆ วิธีผสมผสานกัน ทีนี้ห ากเป็น เทคนิควิธีการสอนหลายๆ วิธีผ สมผสานกันจะเรียกอีกแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่าการเรียนรู้แบบบูรณาการ คือถ้าเป็นการใช้ในโรงเรียนทั้งในสายมัธยมและสายประถมเวลาเขาใช้การสอนเขาจะมีหลายๆ วิธีการเข้ามาผสมกันไม่ว่าจะเป็น การใช้คาถามนา การใช้แบบฝึกหัด การใช้สื่อประสมหรืออะไรต่างๆ แบบนี้เราจะเรียกว่าการเรียนรู้แบบบูรณาการ ซึ่งบางคนก็จะไปมองว่าสิ่งที่บูรณาการนั้นคือBlended Learning เพราะ Blended คือแปลว่า ผสม เหมือนเครื่องปั่นที่เอาอะไรต่อมิอะไรเข้าไป ใส่น้าแข็งใส่น้าส้ม ใส้น้าหวาน ใส่เกลือ แล้วนามาปั่นรวมกันนั้นคือ Blended เพราะฉะนั้น Blended ไปมีความหมายตรงกับหรือใช้วิธีการเดียวกับลักษณะ Integrate Learning หรือการเรียนรู้แบบบูรณาการ ก็เลยทาให้ความเข้าใจตรงนี้เกิดความคลาดเคลื่อน ก็เลยเกิดการให้นิยาม Blended Learning สองกลุ่ม ผมไม่แน่ใจว่าการสัมมนาของพวกเราจะเจอกับปัญหาหรือไม่ เพราะเวลาผมไปสั มมนาหลายครั้งมักจะเจอปัญหานี้ คือกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษาจะมอง Blended Learning เป็นการเรียนแบบ Face to Face ผสมกับการเรียนแบบ Online อย่างชัดเจน แต่หากเป็นพวกหลักสูตรการสอนหรือกลุ่มพวกเทคนิควิธีการสอนจะมอง BlendedLearning เป็นเรื่องของการผสมวิธีการ เพราะฉะนั้นเมื่อเป็นการผสมวิธีการก็เลยทาให้ขาดตรงที่เป็น Onlineหรื อ ออนไลน์ เป็นแค่ส่วนหนึ่งที่นำมาใช้ร่วมกับวิธีการสอนอื่น ๆ อัน นี้คือนิยามโดยหลัก ของ BlendedLearning เพราะฉะนั้นหวังว่าในตอนคุยกันตอนสัมมนาคงจะเอาความคิดเห็นนี้ไปใช้ในการวิพากษ์กันว่าจริงๆแล้วควรจะสรุปคาว่า Blended Learning ไว้อย่างไร
    การจัดเรียนการสอนผสมผสาน (Blended Learning) มีเทคนิคอย่างไรให้เกิดประสิทธิภาพกับผู้เรียนในส่วนของการเรียนรู้แบบผสมผสาน หรือ Blended Learning ซึ่งเมื่อสักครู่เราเข้าใจแล้วว่ามันเป็นเรื่องของ Face to Face กับ Online คนละครึ่ง ดังนั้นการนาไปใช้ประโยชน์ ก็คือว่าเวลาเราจัดการเรียนการสอนและต้องการนาเทคโนโลยีเข้าไปใช้ในการสอนเราก็จะต้องจัดในลักษณะที่เป็นสองแบบ แบบแรกก็คือเราจัดการเรียนการสอนตามปกติ คือให้ผู้ สอนกับผู้ เรียนได้พบหน้ากัน อันนี้เป็นหลั กเรื่องที่หนึ่งเลยคือว่าใน  Blended Learning มันเป็นเทคนิควิธีการแก้ปัญหาในเพียวออนไลน์ คือหากถ้าเราจัดแบบออนไลน์ล้วนๆโดยที่ตัวของผู้เรียนกับผู้สอนไม่เคยเจอหน้ากันโดยตรง มันก็จะขาดกระบวนการที่ทาให้ เกิดการเรียนรู้ ดังนั้นการนาไปใช้ประโยชน์ของ Blended Learning ก็คือจัดการเรียนการสอนที่มีการพบหน้าระหว่างตัวผู้สอนส่วนหนึ่งและมีการสอนแบบออนไลน์ส่วนหนึ่ง ดังนั้นเวลานาไปใช้ประโยชน์จึงมีรูปแบบที่นา Blended Learningไปใช้ห ลายลักษณะอันดับแรกคือต้องทาความเข้าใจก่อนว่าการนาไปใช้ประโยชน์ ในที่นี้ก็คือเราจะต้องออกแบบการสอน ว่าจะเป็นการพบหน้าเท่าไหร่ แล้วก็พบหน้าเมื่อไหร่ พบหน้าอย่างไร และอย่างที่สองก็ออกแบบว่าจะใช้การเรียนการสอนออนไลน์อย่างไร และใช้เทคโนโลยีตัวไหนที่เป็นเครื่องมือ ซึ่งมีอยู่เยอะมากที่จะนามาใช้ใน Blended Learning และเมื่อนาไปใช้สิ่งแรกที่ต้องคานึงนั้นคือ สัดส่วน ของ BlendedLearning คาว่าสัดส่วน Blended Learning เป็นปัญหามาก เพราะว่าการ Blended Learning ถ้าเราจะนาไปใช้ประโยชน์มันขึ้นอยู่กับวิชาว่าจะต้องการให้มีสัดส่ วนของการพบหน้าเท่าไหร่ และสัดส่วนของการออนไลน์เท่าไหร่ การทา Blended Learning ที่ผมใช้อยู่ยกตัวอย่างการสอนในระดับปริญญาโทก็จะใช้Blended Learning ในลักษณะที่เรียกว่า 50 : 50 คือผมเจอหน้านักศึกษา 50 เปอร์เซ็นต์ หมายถึงถ้าเรามีการเรียนการสอนทั้งหมดหนึ่งเทอมแล้วสัปดาห์หนึ่งมี 4 ชั่วโมง สองชั่วโมงผมจะพบหน้าเด็กก่อน ชี้แจงจุดประสงค์อะไรต่างๆ แล้วอธิบายหรือบรรยายหรือให้กิจกรรมการเรียนแบบ Face to Face อันนี้ก็คือเหมือนกับการสอนปกติ หลังจากนั้นเขาจะไปออนไลน์อีกสองชั่วโมง คือออนไลน์มันจะเป็นเครื่องมือที่เข้ามาช่วย ผมใช้ Blended Learning กับนักศึกษาที่อยู่ต่างจังหวัด เหตุผลที่ใช้ Blended Learning เพราะว่าต้องไปสอนศูนย์ที่มหาวิทยาลัยในต่างจังหวั ด เวลาเราไปสอนเสร็จแล้วเรากลับมาตัวเรากับนักศึกษาจะอยู่ห่างกันมาก เพราะฉะนั้น Blended Learning ก็จะหมายความว่าพอเวลาเราสอนเสร็จเวลาในการสอนของเรา 4-6ชั่วโมง เสร็จเรียบร้อยในวิชานั้น เราก็จัดออนไลน์ให้นักศึกษาอีก 4-6 ชั่วโมง ให้นักศึกษาได้ค้นคว้าเอง ได้ทำแบบฝึกหัด ได้ส่งงาน ได้เรียนรู้เพิ่มเติมจากสื่อที่เรากาหนดให้ แบบนี้คือ 50 : 50 คือไปสอน 4 เดือน ทุกสัปดาห์พอสอนเสร็จหลังจากนั้นนักศึกษาต้องออนไลน์กับผมไปตลอดทั้งเทอม สัดส่วนตรงนี้คือ 50:50 นี่คือการนำไปใช้ประโยชน์ของ Blended Learning ช่วยปิดจุดอ่อนตรงที่ว่า ถ้าหากเขาจะมาพบ จะมาซักถามหรือพูดคุย หรือจะส่ งรายงาน เขาทาไม่ได้เลยเพราะเขาอยู่ต่างจังหวัด ถ้าหากเขาจะทาแบบฝึกหั ดส่ งผม ทำการบ้านส่งผมเขาก็จะไปที่ตัวออนไลน์ อยากจะค้นคว้าเพิ่มเติมก็ไปที่ตัวออนไลน์ เขาอยากจะสรุปสไลด์ ฟังบรรยายต่างๆ ของผม เขาก็ไปที่ออนไลน์ อย่างนี้คือ 50: 50 การนาไปใช้ประโยชน์ในแง่ของสัดส่วนแบ่งออกเป็นสองลักษณะแบบแรกเรียกว่า Vertical เป็นแบบแนวตั้ง 50: 50 หมายความว่า Face to Face 50และออนไลน์ 50 คือจัดการสอนตลอดหลักสูตรครึ่งต่อครึ่งไปตลอดเป็นลักษณะคู่ขนาน อีกแบบหนึ่งคือแนวนอน หมายความว่า ถ้าเราจัดการเรียนการสอน 15 สัปดาห์ ก็จะเรียน Face to Face ไปประมาณ 50เปอร์เซนต์ ที่เหลือก็เรียนแบบออนไลน์ อีกแบบหนึ่งที่ต่างประเทศนิยมกันมากคือ 80: 20 คือ Face to Faceครั้งแรกก่อน 10 เปอร์เซนต์ หลังจากนั้นปล่อยให้ ออนไลน์ 80 เปอร์เซนต์ และมาสรุปที่เหลืออีก 10เปอร์เซนต์ สรุปว่าการทา Blended Learning ต้องมีออนไลน์อย่างน้อยครึ่งหนึ่ง ถ้าเมื่อใดที่ระบบการสอนเป็นบรรยายมากกว่าออนไลน์อย่างนี้จะไม่เรียกว่า Blended Learning จะกลายเป็นสื่อออนไลน์เป็นแค่ตัวช่วย ตัวเสริม ไม่ใช่สื่อหลัก เพราะฉะนั้นการนา Blended Learning ไปใช้ประโยชน์ คือ 1. กาหนดสัดส่วน2. คือการออกแบบการสอน ตอนเราสอนแบบ Face to Face ใช้วิธีการใด และออนไลน์ใช้วิธีการสอนแบบใดโดยใช้การเขียนแผนการสอน ซึ่งเท่ากับต้องมี 2 แผนการสอน และสื่อที่จะใช้คืออะไร ตอนเจอหน้าใช้เทคนิคอะไร บรรยาย PowerPoint แล้วแบบออนไลน์จะใช้อะไร Blog, Social Mediaข้อจากัดและแนวทางในแก้ปัญหาในการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน(Blended Learning)ข้อจากัดของ Blended Learning จะอยู่ที่การออนไลน์ ถ้าสถานศึกษาระบบออนไลน์ไม่สมบูรณ์แล้วจัดการเรียนการสอนออนไลน์ก็จะทาให้ผู้สอนเกิดการขัดข้อง และเด็กทุกคนก็ใช่ว่าจะมีอุปกรณ์ออนไลน์ที่ครบถ้วน ถ้าจะจัด Blended Learning ตัวของโรงเรียนต้องมีความพร้อมเรื่องเครือข่าย อีกข้อหนึ่งคือตัวของเทคโนโลยีก็คือว่าในการทา Blended Learning ต้องเลือกทาเทคโนโลยีออนไลน์ เพราะฉะนั้นตอนทาเทคโนโลยีออนไลน์หลายๆ โรงเรียนก็อาจทาเป็นอีเลิร์นนิ่ง พอทาเป็น อีเลิร์นนิ่งแล้วความพร้อมของเทคโนโลยีในโรงเรียนต่างๆ ยังไม่พร้อมที่จะให้ครูทุกคนทา Blended Learning และก็กลายเป็นปัญหาที่ว่าถึงแม้ว่า ครูพร้อม นักเรียนพร้อม ระบบเครือค่ายพร้อม แต่หากว่าตัวเทคโนโลยีที่นามาใช้ครูยังขาดความรู้ ความเข้าใจก็ทาให้เป็นปัญหาได้ อีกประการหนึ่งคือ ความพร้อมของครูผ้สอน หากครูไม่เชี่ยวชาญ ก็กลายเป็นปัญหาในการจัดการเรียนการสอนแบบ Blended Learning และความพร้อมของตัวผู้เรียน เช่น บ้านไม่มีอินเทอร์เน็ตหรือไม่มีคอมพิวเตอร์ หรือถ้าใช้ในโรงเรียนก็เป็นปัญหาเรื่องห้องเรียนเพียงพอหรือไม่ Blended Learning ก็จะกลายไปเพิ่มภาระให้ แนวทางแก้ไขคือ ต้องทาให้ ครู นักเรียน ระบบเครือข่าย อุปกรณ์ มีความพร้อม เราก็
      จะสามารถจัดการเรียนการสอน Blended Learning ได้อย่างสมบูรณ์ และที่สาคัญคือตัวของ BlendedLearning เป็นออนไลน์ เด็กก็จะเข้าไปเล่นเกมส์ ไม่สนใจตัวสื่อออนไลน์ วิธีการแก้ไข คือ ต้องออกแบบระบบการสอนออไลน์เฉพาะ และสร้างตัวเทคโนโลยีที่ควบคุมการเรียนรู้ของเด็กให้กรอบ อยู่ในแนวทางได้ทิศทาง จัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน(Blended Learning) ในการศึกษาไทยจะเป็นอย่างไรตราบใดที่ยังมีสื่อออนไลน์ Blended Learning จะเป็นวิธีการสอนที่จะนามาช่วย แนวโน้มก็จะคือเป็นวิธีการที่จะเพิ่มมากขึ้น แพร่หลายโดยทั่วไป ซึ่งเพิ่มขึ้นเพราะนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนในเรื่องของเทคโลยีสารสนเทศไม่ว่าจะเป็นแท็บเล็ต อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง สิ่งเหล่านี้จะเป็นแนวโน้มที่ทาให้ BlendedLearning เพิ่มมากขึ้น และในอนาคต Blended Learning จะเข้าสู่ในยุคของ เวอร์ชวลเลิร์นนิ่ง คือเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ตในลักษณะ 3 มิติมากขึ้น หากเรานา Blended Learning มาผสมผสานกับ เวอร์ชวลเลิร์นนิ่ง คือเพิ่มการมีปฏิสัมพันธ์ในออนไลน์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียนให้มีมากขึ้น ถ้าถามว่าแนวโน้มจะเป็นลักษณะใด ก็ตอบได้เลยว่า Blended Learning จะมีมากขึ้น ตราบใดทีระบบออนไลน์มีมากขึ้น ระบบสารสนเทศมีมากขึ้นระบบเครือข่ายมีประสิทธิภาพมากขึ้น เหลือตอนนี้ก็คงจะป็นตัวผู้สอนที่จะเข้าสู่ยุคนี้ได้อย่างไร หากครูผู้สอนยังสอนเหมือนเดิม ในขณะที่นักเรียนเข้าสู่โลกของออนไลน์มากขึ้น การเรียนการสอนก็ของครูก็จะไม่น่าสนใจการเรียนการสอนของครูก็จะไม่สอดคล้องกับชีวิตประจำวันของผู้เรียน นโยบายของรัฐบาลที่ผลักดันเรื่องการให้ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยตัวก็จะไม่ประสบความสาเร็จ

ที่มา  :  http://krusorndee.net/group/6-1-2555-33101/page/blended-learning

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น